ในปฏิบัติการเคมีจำเป็นต้องมีการชั่ง ตวง และวัดปริมาณสาร ซึ่งการชั่ง ตวง วัดมีความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดจากอุปกรณ์ที่ใช้ หรือ ผู้ทำปฏิบัติการ
ความน่าเชื่อถือของข้อมูล พิจารณาได้ 2 ส่วน ได้แก่
1. ความเที่ยง คือ ความใกล้เคียงของค่าที่ได้จากการวัดซ้ำ
2.ความแม่น คือ ความใกล้เคียงของค่าเฉลี่ยจากการวัดซ้ำเทียบกับค่าจริง
อุปกรณ์วัดปริมาตร
บีกเกอร์
- มีลักษณะเป็นทรงกระบอกปากกว้าง มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด
- มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด
กระบอกตวง
- มีลักษณะเป็นทรงกระบอก มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลิตร มีหลายขนาด
ปิเปตต์
- เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตรที่มีความหนาแน่นสูง ใช้สำหรับถ่ายเทของเหลว
บิวเรตต์
- เป็นอุปกรณ์สำหรับถ่ายเทของเหลวในปริมาตรต่างๆตามต้องการ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว
ขวดกำหนดปริมาตร
- เป็นอุปกรณ์าำหรับวัดปริมาตรของเหลวที่บรรจุภายใน ใช้สำหรับเตรียมสารละลายที่ต้องการความเข้มข้น
แน่นอน อุปกรณ์วัดมวล
- เครื่องชั่ว เป็นอุปกรณ์สำหรับวัดมวลของสารทั้งที่เป็นของแข็งและของเหลว มีความน่าเชื่อถือของค่ามวลที่วัดได้
เลขนัยสำคัญ
การนับเลขนัยสำคัญ
1. ตัวเลที่ไม่มีเลขศูนย์ทั้งหมดนับเป็นเลขนัยสำคัญ
2. เลขศูนย์ที่อยู่ระหว่างตัวเลขอื่น นับเป็นเลขนัยสำคัญ
3. เลขศูนย์ที่อยู่หน้าตัวเลขอื่น ไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญ
4. เลขศูนย์ที่อยู่หลังตัวเลขอื่นที่อยู่หลังทศนิยม นับเป็นเลขนัยสำคัญ
5. เลขศูนย์ที่อยู่หลังตัวเลขอื่นที่อยู่หลังทศนิยม นับหรือไม่นับเป็นเลขนัยสำคัญก็ได้
6. ตัวเลขที่แม่นตรง
7. ข้อมูลที่มีค่าน้อยๆหรือมาก ให้เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์โดยสัมประสิทธิ์ตัวเลขทุกตัวเป็นเลขนัยสำคัญ
การปัดตัวเลข
1. ตัวเลขที่มีค่าน้อยกว่า 5 ให้ตัดตัวข้างหลังทิ้งไปให้หมด
2. ตัวเลขที่มีมากกว่า 5 ให้เพิ่มค่าของตัวเลขตำแหน่งสุดท้ายที่ต้องการอีก 1
3. กรณีที่ตัวเลขถัดจากตำแหน่งที่ต้องการมีค่าเท่ากับ 5 และมีตัวเลขอื่นที่ไม่ใช่ 0 ต่อจากเลข 5 ให้เพิ่มค่าของตัวเลขตำแหน่งสุดท้ายที่ต้องการ อีก 1
การบวกและการลบ
ผลลัพธ์ที่ได้จะมีจำนวนตัวเลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมเท่ากับข้อมูลที่มีจำนวนตัวเลขที่อยู่หลังจุดทศนิยมน้อยที่สุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น